วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2559

นิราศนรินทร์คำโคลง

นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี โดยกระทรวงศึกษาธิการได้คัดมาให้นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้วย 
ผู้แต่ง
ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) นิราศเรื่องนี้ผู้แต่งไม่ได้ร อ่านเพิ่มเติม

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

              อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง     เมื่อเมืองขึ้นยกทัพมาถึงเมืองกะหมังกุหนิงท้าวกะหมังกุหนิงออกมต้อนรับ พระอนุชาของท้าวกะหมังกุหนิง ทั้ง ๒ พระองค์ 
คือ ระตูปาหยัง และระตูประหมัน ก็ยกทัพมา  เมื่อทั้งสองรู้ถึงสาเหตุที่ท้าวกะหมังกุหนิงจะยกทัพไปแย่งชิงนางบุษบา 
ก็ทรงห้ามปราม โดยให้เหตุผลว่า พระธิดาที่สวย ใช่จะมีแต่พระธิดาของท้าวดาหา  เมืองอื่นก็มี  และอีกประการหนึ่ง 
เมืองดาหาเป็นเมืองใหญ่ วงศ์อสัญแดหวา มีเมืองพี่เมืองน้องที่เก่งกล้า   ถ้าทำศึกกับเมืองดาหา ก็เท่ากับทำศึกกับวงศ์อสัญแดหวา ซึ่งเปรียบดังแสงอาทิตย์ ส่วนเมื อ่านเพิ่มเติม

เวตาล

 เวตาล(สันสกฤต: वेताल) เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง คล้ายค้างคาวผี ในปรัมปราคติของฮินดู เวตาลอยู่ในจำพวกมรุตคณะ เป็นบุตรนางอทิติ เป็นผู้ตามพระรุทระเป็นเจ้าแลนางภัทรา ดำรงอยู่เป็นภูตที่อาศัยในซากศพผู้อื่นในตอนกลางวัน ศพเหล่านี้อาจใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการเดินทาง เพราะขณะที่เวตาลอาศัยอยู่นั้น ซากศพจะไม่เน่า แต่เวตาลอาจออกจากศพเพื่อหากินในตอนกลางคืน ไปตามหนอง ตามพุ่มไม้ ตามป่ารกแลป่าที่มืดอับ บางทีไปกับลมพายุแลฟ้ามัว เวลาเที่ยวจะเป็นเวลากลางคืนสงัดใ อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการ

              คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๑.      ความเป็นมา
 คำนมัสการคุณานุคุณที่คัดมาให้ศึกษามีเนื้อหาแบ่งออกเป็น ๕ ตอน แต่ละตอนมีที่มาจากคาถาภาษาบาลี ดังนี้
 คำนมัสการพระพุทธคุณ : อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภ อ่านเพิ่มเติม